วันพฤหัสบดี 5 ธันวาคม 2024
  • :
  • :
Latest Update

คณะราษฏร เคย สั่งปิดม.ปลายทุกโรงเรียนทั่วประเทศนับสิบปีเพื่อเปลี่ยนแปลงประวัติศาสตร์

หลักฐานประวัติศาสตร์ เมื่อคณะราษฏรสั่งปิดการศืกษาชั้นมัธยมปลายทุกโรงเรียนทั่วประเทศสิบปี ฉบับร่วมด้วย ช่วยจัดเต็มแชร์ได้

เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน ผมจัดการรีโพสท์ เรื่อง วันนี้วันรัฐธรรมนูญ ซื่งเคยโพสท์ไว้ในปีก่อนๆ และถกเถียงกันสนุกสนาน จบกันไปนานแล้ว

แต่ เมื่อมีคนเข้ามาถามหาหลักฐานอ้างอิง ก็ต้องโชว์อีกครั้ง สมศักดิ์เจียม และฝูงลิงของเขา

หลักฐานเรื่อง คณะราษฏร์ส่งรถถังเข้ายืดโรงเรียนสวนกุหลาบ ปรากฏในเวบไซท์ของโรงเรียน ในหัวข้อประวัติศาสตร์และเกียรติภูมิของโรงเรียนสวนกุหลาบ ผู้นำรถถัง และทหารไปจับเด็กเป็นตัวประกันคือ นาย สงวน ตุลาลักษณ์

เป็นบันทืกจากคำบอกเล่าของศิษย์เก่าและครูเก่า เรียกว่า ประวัติศาสตร์จากคำบอกเล่า เรื่องนี้ปรากฏในข้อเขียนหลายที่ แต่คณะราษฏรมิได้บันทืกไว้เลย

บันทืกไม่ได้ น่าอายสุดๆ >>ชัยชนะที่เกิดจากการจับเด็กนักเรียนเป็นตัวประกัน บอกลูกว่าจับพ่อได้แล้ว ไปบอกพ่อว่าจับลูกได้แล้ว

>>ในวันที่ 24 มิถุนายน 2475 นั้นมีรถถังแล่นมาจอดขวางประตูโรงเรียน มีนายทหารและพลเรือน ชื่อนายสงวน ตุลาลักษณ์ ผู้ก่อการได้เข้ามาในโรงเรียนเชิญอาจารย์ใหญ่ซึ่งขณะนั้นคือ อาจารย์เอซี เชอร์ชิล และนักเรียน ม.6-ม.8 เข้าหอประชุมสามัคคยาจารย์สมาคม ประกาศว่า ทุกคนได้รับทราบว่าขณะนี้ได้มีการปฏิวัติเพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองขอให้ทุกคนอยู่ในความสงบ<<

โรงเรียนทุกโรงเรียนต้องจำบทเรียนนี้ไว้ หากเกิดการปฏิวัติมวลชนเมื่อใด คงจะมาแนวจับเด็กนักเรียนเป็นตัวประกันอีก ออกแนวไอซิส กบฏไนจีเรียยังไงไม่รู้ สงสัยจะเลียนแบบไทย

ทำไมนักเรียนเก่าสวนกุหลาบรุ่นเข้าปี 2014 จืงไม่รู้เรื่องนี้ ก็เพราะ

ในยุคนั้นไม่มีคนเขียน

การศืกษาประวัติศาสตร์โรงเรียนอย่างจริงจัง และการรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบ ด้วยคนจำนวนมาก>> ซื่งเก่งมาก 55<<ทำกันในยุคหลัง มีการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์สวนกุหลาบ มีเอกสารเก่า ภาพเก่า บันทืกเก่ามากมาย มากจนเกิดหลักสูตรสวนกุหลาบศืกษาขื้น >> นักเรียนเรียนรู้ประวัติศาสตร์บุคคล บ้านเมือง เรียกว่าหลักสูตรการเรียนชีวิต

<<นักเรียนที่นำชมพิพิธภัณฑ์เล่าประวัติศาสตร์ คือนักเรียนชุมนุมยูเนสโก. นักเรียนทุกคนรู้เรื่องนี้ดี

ดังนั้น คนรุ่นหลังจืงมีหลักฐานประวัติศาสตร์โรงเรียน ความเกี่ยวข้องระหว่างบุคคล โรงเรียน และชาติ. ระดับพิพิธภัณฑ์ บอกให้นักเรียนรู้เพื่อให้มีอุดมการณ์รักษาชาติบ้านเมืองตามพระราชปณิธานของ ร 5

ก็ควรกลับไปดูชมโรงเรียน ความรู้ของโรงเรียน คือการสะสม ถ่ายทอด คิดใหม่ตลอดเวลา

@@

หลักฐานเรื่องการปิดชั้น มปลาย>>ม. 7-8

หลักฐานทางกฎหมาย คือ ประกาศแผนการศึกษาชาติ 2479 โดยพลเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา มีผู้บันทืกผลกระทบที่ตามมามากมาย ขี้เกียจลอกมาพิมพ์

เอาจากประวัติของโรงเรียนเตรียมอรชร ที่เล่าความเป็นมาของโรงเรียนเตรียมไว้ เตรียมอรชรตั้งขื้นเพียง 2 ปี ก่อนยุบไปรวมกับเตรียมอุดม บันทึกไว้ดังนี้

ตามแผนการศืกษาชาติฉบับนี้ ให้ยุบการศืกษาชั้น ม7-8 และตั้งโรงเรียนเตรียมของมหาวิทยาลัยขื้นมา เพื่อจะได้มีนักเรียนเข้ามหาวิทยาลัย

ตั้งเตรียม จุฬา เตรียม มธก เตรียมศิลปากร

เตรียม มธก อยู่นานแค่ 8 รุ่น แถวรุ่นคุณสนิท เสริมศรี เอกชัย ราวนั้น อดีตบกเดลินิวส์ ยังมีเลี้ยงรุ่นเล่นไพ่ตองอยู่เลย เหลือเพียงเตรียมจุฬา ซื่ง มล ปิ่น มาลากุลรีบขอเข้าเป็นส่วนหนื่งของจุฬา ก่อนแยกมาสังกัดกระทรวงศืกษาหลังยุคทมิฬมาร ได้ขอตราพระเกี้ยวจากจุฬา เพื่อประกาศว่าเป็นสถาบันที่ผูกพันกับพระมหากษัตริย์ มิใช่คณะราษฎร์ พระเกี้ยวน้อยจืงเป็นตราแสดงถืงจุดยืนของนักเรียนเตรียมอุดม จนปัจจุบัน

เป็นที่มาของเพลงปิ่นหทัย ของโรงเรียน

ในระยะ 7-8 ปีแรก โรงเรียนเตรียมจุฬา รับนักเรียนเฉลี่ยราวปีละ 200 คนเอง รับได้น้อยเพราอยู่ไกลเดินทางลำบากมาก นักเรียนจากต่างจังหวัดไม่มีทุนรอนเข้ากรุงเทพ

การสร้างโรงเรียนคุณภาพแบบเตรียมจุฬาเพิ่ม เป็นสิ่งที่ดี แต่ไม่ควรไปปิดชั้น มปลายโรงเรียนรัฐ โรงเรียนราษฎร์ทั่วประเทศ ใช่ไหม

คณะราษฎรหวังจะสร้างระบบการศืกษาเพื่อเปลี่ยนความคิดใหม่ ก็แนวปฏิวัติในจีน เขมรแดงไรงี้

จะเปลี่ยนการปกครอง ต้องเปลี่ยนความคิดคน

คณะราษฏรเข้าเป็นอธิการบดี ผู้สถาปนาทุกมหาวิทยาลัย จอมพล ป เป็นอธิการบดี จุฬา >> อ่านประวัติ ตมธก และธรรมศาสตร์ให้ละเอียด เดี๋ยวจะมีลิงค์ให้

 

หลักฐาน

>>จากประวัติของโรงเรียนเตรียมอรชร

>>โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ตั้งขึ้นตามแผนการศึกษาแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2479 ซึ่งกำหนดการศึกษาระดับสามัญศึกษาไว้ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 แต่ผู้ที่เข้าศึกษาชั้นอุดมศึกษา (มหาวิทยาลัย) จะต้องเรียนชั้นเตรียมอุดมศึกษาก่อน 2 ปี ถึงแม้กระทรวงธรรมการ (กระทรวงศึกษาธิการ) ในสมัยนั้นจะจัดการเรียนการสอนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 7 – 8 แต่ก็สิ้นสุดลงในปี พ.ศ. 2481 ซึ่งทำให้มหาวิทยาลัยจะรับนักศึกษาได้เพียงปี พ.ศ. 2482 ดังนั้นเพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของรัฐบาลการเตรียมนักเรียนเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัย จึงควรเป็นการดำเนินการของมหาวิทยาลัยเอง

ด้วยเหตุดังกล่าวจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จึงได้พิจารณาดำเนินการโดยสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีมติให้จัดตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยขึ้น เมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2480 โดยมี ฯพณฯ ศ.ม.ล.ปิ่น มาลากุล เป็นผู้อำนวยการคนแรก ใช้สถานที่ของโรงเรียนมัธยมหอวัง ถนนพญาไท แต่ให้ขยายไปจรดถนนสนามม้า (อังรีดูนังต์) โรงเรียนเริ่มรับนักเรียนรุ่นแรกเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2481

และ

กระทรวงศึกษาธิการ มีนโยบายให้เปิดชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 7-8 ตามคำเรียกร้องของประชาชน จึงได้มีการเปิดชั้นเตรียมอุดมศึกษาในโรงเรียนรัฐบาลถึง13 โรง และโรงเรียนราษฏร์ 25 โรง ในปี พ.ศ. 2489 นับเป็นรุ่นแรกหลังสงคราม<<

เพื่อนเพจก็ยืนยันข้อมูลมาว่า

เรื่องปิดการสอนในระดับม.ปลาย มีคำสั่งของขุนสุคนธวิทศึกษากร อยู่นะครับ ทางโรงเรียนเตรียมอุดมฯ ก็คัดมาให้อ่าน สามารถหามาอ่านได้ทั่วไป

ผลที่เกิดขื้น

ทำลายระบบการเรียนสองภาษาของประเทศไทย ซื่งถ้าทำมาต่อเนื่องคนไทยจะพูดอังกฤษเก่งแบบมาเลย์ สิงคโปร์

ทำให้การศืกษาของทุกโรงเรียนพังทลายลงเป็นสิบปี มาเปิดอีกครั้งเพราะศิษย์เก่าและประชาชนต่อสู้เรียกร้อง ปิดมอปลายสิบปี ฟื้นฟูอีกสิบปี โคตรเสียเวลา โรงเรียนจำนวนมากหายไปเลยนับร้อยโรงเรียน////ร้องให้หนักมาก///

การศืกษาในช่วงนั้นที่เปิดใหม่ก็ไม่ดี ไม่มีสถานที อ่านประวัติโรงเรียนเตรียมได้เลย ให้ประกาศนียบัตรโดยไม่ต้องสอบสี่รุ่น เกิดสงคราม โดนระเบิด รับนักเรียนได้น้อย นักเรียนมัธยมปลายน้อยลง คนจืงเข้าเรียนมหาวิทยาลัยได้น้อยลง

นักเรียนต่างจังหวัดต้องมาเรียนที่กรุงเทพ มานอนวัดกันเป็นแถว เกิดเด็กวัดขื้นในสังคมไทย อยู่วัดเพื่อเรียนหนังสือ

ผมมาไล่เลียงประวัติการศืกษา เพราะอยากเข้าใจว่า ทำไมพัง

สิงคโปร์ อินเดีย มาเลย์ ฟิลิปปินส์ แม้จะได้เอกราช เขาก็ยังคงขนบที่ดีไว้ การศืกษาจืงดี

คณะราษฎรทำให้แผนงานที่เตรียมจะเพิ่มนักเรียนม ปลายเป็นหมื่นคน พังลง

ลดที่เรียน ห้องเรียน ม ปลายลง จะเพิ่มนักเรียนได้อย่างไร พัง พัง พัีง

เป็นการเอาแนวคิดการเมืองมาทำลายการศืกษา การศืกษาไทยจืงพังยาวตั้งแต่นั้น

@@@

การต่อสู้ชิงโรงเรียนคืน ของศิษย์เก่า

อ่านจาก นสพ เก่าในยุคนั้น มีเยอะ หอพระสมุดก็มี ผมไปนั่งอ่านที่นั่นตั้งแต่ เรียน มศ 2 มีเรื่องสนุกมากมาย

ยุคนี้เขาเก็บไว้ในรูปไมโครฟิล์ม เก็บแบบนี้มานานแล้วล่ะ ใช้ข้อมูลมาตอบข้อสอบ มปลาย กระทรวงเลยให้คะแนนประวัติศาสตร์เกินคะแนนเต็มมา มีหนังสือชมเชยมาด้วย 55 ยุคนั้นสอบเขียนบรรยาย

ดูการกลับมาของ ภปร ราชวิทยาลัย โรงเรียน หอวัง นี่คือการต่อสู้ของศิษย์เก่าเหมือนกัน

อ่านประวัติโรงเรียนเก่า เช่น เบญจมราชาลับ สตรีวิทย์ มหาวชิราวุธ เบญจมบพิตร บวรนิเวศน์ ก็จะรู้ ดูประวัติศิษย์เก่าเตรียมอุดม เช่น กำธน สินธวานนท์ ทำไมไปจบเตรียม คุณกำธน เรียนเทพศิรินทร์ ตอนหลังเป็นนายกสมาคมศิษย์เก่าทั้งสองโรงเรียน

ประวัติศิษย์เก่าเตรียมอุดมสิบรุ่นแรก เป็นนักเรียนสวนกุหลาบเยอะมาก เกินกว่าครื่ง โรงเรียนไม่มี ม ปลาย ต้องไปเรียนต่อที่นั่น ผมนั่งอ่านประวัติมาหมด

สังคมไทยไม่ใช่สังคมแห่งการเขียน จดบันทีก คำบอกเล่าจืงสำคัญ พ่อผมเรียนสวนกุหลาบรุ่นแถวๆ ป๋าเปรม เพื่อนฝูงเป็นทหารเยอะ ข้อมูลนี้บางคนเข้าไม่ถืง จืงได้รู้สิ่งที่เรียกว่าจิตใจ

รู้ไหมว่าเด็กสวนยุคนี้คิดอะไร ง่ายขื้น มีเฟสบุ้ค ยุคนั้นไม่มีคอมพิวเตอร์

ผมไปนั่งคุยกับอาจารย์คืกฤทธิ์ ท่านก็บอกเหมือนกัน เข้าใจจิตใจ เรื่องยากมาก ไม่มีคนเขียนมีแต่การกระทำ

หนังสือศิลปวัฒนธรรมก็มีผู้อ้างถืงไว้ สิบปีได้แล้วมั้ง

ยุคนี้แค่คุณคิดจะไปปิดมหาวิทยาลัย โรงเรียนสักแห่งเรื่องใหญ่มาก โคตรคอมมอนเซนส์เลย

>>กระทรวงศึกษาธิการ มีนโยบายให้เปิดชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 7-8 ตามคำเรียกร้องของประชาชน จึงได้มีการเปิดชั้นเตรียมอุดมศึกษาในโรงเรียนรัฐบาลถึง13 โรง และโรงเรียนราษฏร์ 25 โรง ในปี พ.ศ. 2489 นับเป็นรุ่นแรกหลังสงคราม<<

บันทึกจากประวัติโรงเรียนเตรียมอรชร

@@@

ทำไมคนศืกษาประวัติศาสตร์บางคนไม่รู้ ไม่เข้าใจเรื่องเหล่านี้

หนื่ง อ่าน wiki famous historian จะเห็นว่า ประวัติศาสตร์แยกย่อยเป็นร้อยสาขา— ก่อนประวัติศาสตร์ ประเทศ ทวีป เศรษฐกิจ อาณานิคม ธุรกิจ เงินตรา การแพทย์ โรคระบาด ชุมชน ศาสนา การศืกษา โรงเรียน การทหาร วิทยาศาสตร์ นวัตกรรม
ใครที่ทะลื่งอวดตัวว่า รู้ทุกเรื่อง เนี่ย…….

สอง นักประวัติศาสตร์บางคน กลายเป็นนักต่อสู้ โดยเฉพาะสายมาร์กซิสม์ ความรู้จืงถูกบิดเบือน ทำตัวเป็นพวก advocate ทำงานต่อสู้ทางชนชั้น บิดเบือนข้อมูล ไม่ใช่นักประวัติศาสตร์แล้วล่ะ

สาม บางคนสนใจissue เดียว ใครพูดก็ไม่ฟัง เป็นความฝังใจในชีวิต แต่อ้างตัวเป็นนักประวัติศาสตร์

สี่ ประวัติศาสตร์สนุกมาก แต่เมืองไทยไม่มีนักประวัติศาสตร์ใน wiki เลย เด็กไม่เรียน คนไม่จ้าง เพราะเทรนนิ่งแคบ ไม่รู้เศรษฐศาสตร์ ต่างประเทศ ข้ามสาขาวิชาไม่เป็น มั่วครับ น่าเบื่อ

ผมอ่านประวัติศาสตร์เยอะ เพราะต้องใช้งาน แต่ต้องเลือกอ่านของคนเจ๋งๆระดับโลก เขามีระเบียบการคิด การวิจัย ไม่คับแคบตกปลักแบบบ้านเรา

ตบเกรียนนิสนึง เดี๋ยวแชร์ลิงค์ข้างล่าง

คนเราน่ะ ถ่อมตัวจึงจะดี

พี่ว่าน้องเปลี่ยนอาชีพจากนักประวัติศาสตร์ไปทำพิซซ่าขายดีกว่านะ น่าจะรุ่ง

เน้นแป้งหนานุ่ม เพิ่มชีส สไตล์ฮาวายเอี้ยนเข้าไว้

 

ขอขอบคุณที่มาของบทความ FB Somkiat Osotsapa

 

ระหว่างปี พศ.๒๔๗๕-๒๕๐๐

 

ยี่สิบห้าปีแรกแห่งประชาธิปไตย

 

อำนาจการเมืองการปกครองส่วนใหญ่

 

วนเวียนอยู่ในมือของแกนนำคณะราษฏร์

 

ที่สุดแล้วประชาธิปไตยเป็นแค่คำลวง

 

ของคณะราษฏร์เท่านั้นเอง